หน้าแรก / เกี่ยวกับเรา / ประวัติความเป็นมา
ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล ซึ่งเดิมเป็นเพียงสาขาวิชาช่างยนต์สังกัดคณะวิชาการฝึกหัดครูเทคนิคชั้นสูง วิทยาลัยเทคนิคธนบุรีตั้งขึ้นในปีการศึกษา 2508 ระหว่างปี 2509 ถึง 2513 คณะ วิชาการ ฝึกหัดครูเทคนิคชั้นสูง ได้รับการสนับสนุนจากองค์การสหประชาชาติ โดยโครงการ UNDP Special Fund/UNESCO Project เป็น โครงการที่สอง (THA 22/1966-1970) เพื่อผลิตครูเทคนิค ชั้นสูงที่มีคุณภาพ วุฒิประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง(ปทส.)ในปี พ.ศ. 2514 วิทยาลัยเทคนิคธนบุรีได้ ยกฐานะขึ้นเป็น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตธนบุรี คณะวิชาการฝึกหัดครู เทคนิคชั้นสูง ก็เปลี่ยนฐานะเป็นภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิชา ช่างยนต์ก็ได้เปลี่ยนเป็น สาขาครุศาสตร์เครื่องกล ระหว่างปี พ.ศ. 2515 ถึง 2519 ภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้รับความช่วยเหลือจาก กองทุนพิเศษแห่ง สหประชาชาติ เป็นโครงการที่สาม ชื่อโครงการ Teacher Training Programme, King Mongkut's Institute of Technology Thonburi (Phase3) SF. THA 72 เพื่อผลิตบัณฑิตวุฒิครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต(ค.อ.บ.) สาขาวิชาครุศาสตร์เครื่องกลได้ยกฐานะขึ้นเป็น ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล ตั้งแต่ปี พ.ศ.2526
วัตถุประสงค์ :
การพัฒนาประเทศโดยเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรม ส่งผลให้สถานภาพทางการศึกษาวิชาช่างเครื่องกลในประเทศไทยได้มีการขยายตัวอย่างมาก ในทุกสาขา และทุกระดับ แต่ จำนวนครูที่สอนวิชาช่างเครื่องกลยังอยู่ในสภาพขาดแคลน ไม่ได้สัดส่วนกับจำนวนนักศึกษา ทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล จึงได้ร่วมแก้ปัญหานี้โดย การรับนักศึกษา ที่มีพื้นฐานด้านอาชีวศึกษาระดับ ปวส. มาเพิ่มพูนความรู้ด้านวิศวกรรม ในระดับปริญญาตรีวิศวกรรมเครื่องกล ควบคู่กันไปกับวิชาด้านครุศาสตร์ และรับนักศึกษา ที่มีพื้นฐานการศึกษาระดับปริญญาตรี วุฒิการศึกษา ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ.) วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศ.บ.) หรือ เทียบเท่าสาขาวิศวกรรมเครื่องกล และ วิศวกรรมอุตสาหการ มาเพิ่มพูน ความรู้ด้านวิศวกรรม ควบคู่กันไปกับวิชาการด้าน ครุศาสตร์ในระดับปริญญาโท เพื่อผลดังนี้
1. เพื่อผลิตครูช่าง/นักครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกลในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทที่มีความรู้ ความสามารถ ในทางทฤษฎีและปฏิบัติ ทั้งในด้านอาชีพ วิศวกรรมเครื่องกลและทางครุศาสตร์ ตามความต้องการ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. ทำการวิจัยการเรียนการสอนวิชาช่างเครื่องกลในระดับต่างๆเพื่อเผยแพร่การให้บริการ ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอนให้แก่สังคม
3. พัฒนานักครุศาสตร์อุตสาหกรรมสาขาวิศวกรรมเครื่องกลประจำการให้มีความรู้ก้าวหน้าทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทางด้านเทคโนโลยี
ปรัชญาภาควิชา :
เป็นหน่วยงานที่ผลิต บัณฑิต มหาบัณฑิต ให้มีองค์ความรู้ ทักษะทัศนคติและจิตสำนึกของความเป็นครูช่าง/นักครุศาสตร์อุตสาหกรรม ด้วยการ ผสมผสานศาสตร์ ของวิชาชีพ การสอนควบคู่ไปกับศาสตร์ทางวิชาชีพวิศวกรรม ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถปฏิบัติการสอนวิชาชีพ และฝึกอบรมทางวิศวกรรมโดย สามารถใช้สอนได้อย่างเหมาะสม ผลิตและเลือกสื่อได้อย่าง มีประสิทธิภาพตลอดจนดำเนินการวัดและประเมินผลการสอนได้อย่างเป็นระบบ
ปณิธานภาควิชา :
ครุศาสตร์เครื่องกล สร้างคนสู่งาน เชี่ยวชาญการสอน วิศวกรเป็นเยี่ยม
วิสัยทัศน์ :
ครุศาสตร์เครื่องกล มุ่งเน้นความเป็นเลิศในการผลิต นักครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทักษะและเจตคติในงานทาง วิชาชีพการสอน ฝึกอบรม วิชาชีพทางวิศวกรรม
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
- สาขาวิชาครุศาสตร์โยธา
- สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
- สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
- สาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
Visitor Counter
Copyright © 2018 Mechanical Technology Education , KMUTT, All rights Reserved. Design by Saksit
ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกลซึ่งเดิมเป็นเพียงสาขาวิชาช่างยนต์สังกัดคณะวิชาการฝึกหัดครูเทคนิคชั้นสูง วิทยาลัยเทคนิคนบุรี ตั้งขึ้น ในปีการศึกษา 2508 ระหว่างปี 2509 ถึง 2513 คณะวิชาการฝึกหัดครูเทคนิคชั้นสูง ได้รับการสนับสนุนจากองค์การสหประชาชาติ โดยโครงการ UNDP Special Fund/UNESCO Project เป็นโครงการที่สอง (THA 22/1966-1970) เพื่อผลิตครูเทคนิค ชั้นสูง ที่มีคุณภาพ วุฒิประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง(ปทส.)ในปี พ.ศ. 2514 วิทยาลัยเทคนิคธนบุรีได้ยกฐานะขึ้นเป็น สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตธนบุรี คณะวิชาการฝึกหัดครู เทคนิคชั้นสูง ก็เปลี่ยนฐานะเป็นภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ก็ได้เปลี่ยนเป็น สาขาครุศาสตร์เครื่องกล ระหว่างปี พ.ศ. 2515 ถึง 2519 ภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้รับความช่วยเหลือจาก กองทุนพิเศษแห่งสหประชาชาติเป็นโครงการที่สาม ชื่อโครงการ Teacher Training Programme, King Mongkut's Institute of Technology Thonburi (Phase3) SF. THA 72 เพื่อผลิตบัณฑิตวุฒิครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต(ค.อ.บ.) สาขาวิชาครุศาสตร์เครื่องกลได้ยกฐานะขึ้นเป็น ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล ตั้งแต่ปี พ.ศ.2526
วัตถุประสงค์ :
การพัฒนาประเทศโดยเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรม ส่งผลให้สถานภาพทางการศึกษาวิชาช่างเครื่องกลในประเทศไทย ได้มีการขยายตัวอย่างมากในทุกสาขาและทุกระดับ แต่ จำนวนครูที่สอนวิชาช่างเครื่องกลยังอยู่ในสภาพขาดแคลน ไม่ได้สัดส่วนกับ จำนวนนักศึกษา ทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล จึงได้ร่วมแก้ปัญหานี้โดย การรับนักศึกษา ที่มีพื้นฐาน ด้านอาชีวศึกษาระดับ ปวส. มาเพิ่มพูนความรู้ด้านวิศวกรรม ในระดับปริญญาตรีวิศวกรรมเครื่องกลควบคู่กันไปกับ วิชาด้านครุศาสตร์ และรับนักศึกษา ที่มีพื้นฐานการศึกษาระดับปริญญาตรี วุฒิการศึกษา ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ.) วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศ.บ.) หรือ เทียบเท่าสาขาวิศวกรรมเครื่องกล และ วิศวกรรมอุตสาหการ มาเพิ่มพูน ความรู้ด้านวิศวกรรม ควบคู่กันไปกับวิชาการด้านครุศาสตร์ในระดับปริญญาโท เพื่อผลดังนี้
1. เพื่อผลิตครูช่าง/นักครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกลในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทที่มีความรู้ ความ สามารถในทางทฤษฎีและปฏิบัติ ทั้งในด้านอาชีพ วิศวกรรมเครื่องกลและทางครุศาสตร์ ตามความต้องการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. ทำการวิจัยการเรียนการสอนวิชาช่างเครื่องกลในระดับต่างๆเพื่อเผยแพร่การให้บริการ ข้อมูลเกี่ยวกับ การเรียนการสอน ให้แก่สังคม
3. พัฒนานักครุศาสตร์อุตสาหกรรมสาขาวิศวกรรมเครื่องกลประจำการให้มีความรู้ก้าวหน้าทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทางด้านเทคโนโลยี
ปรัชญาภาควิชา :
เป็นหน่วยงานที่ผลิต บัณฑิต มหาบัณฑิต ให้มีองค์ความรู้ ทักษะทัศนคติและจิตสำนึกของความเป็นครูช่าง/นักครุศาสตร์อุตสาหกรรมด้วยการผสมผสานศาสตร์ ของวิชาชีพ การสอนควบคู่ไปกับศาสตร์ทางวิชาชีพวิศวกรรม ผู้สำเร็จการ ศึกษาสามารถปฏิบัติการสอนวิชาชีพ และฝึกอบรมทางวิศวกรรมโดยสามารถใช้สอนได้อย่างเหมาะสม ผลิตและเลือกสื่อได้อย่าง มีประสิทธิภาพตลอดจนดำเนินการวัดและประเมินผลการสอนได้อย่างเป็นระบบ
ปณิธานภาควิชา :
ครุศาสตร์เครื่องกล สร้างคนสู่งาน เชี่ยวชาญการสอน วิศวกรเป็นเยี่ยม
วิสัยทัศน์ :
ครุศาสตร์เครื่องกล มุ่งเน้นความเป็นเลิศในการผลิต นักครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทักษะและเจตคติในงานทางวิชาชีพการสอน ฝึกอบรม วิชาชีพทางวิศวกรรม
ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล ซึ่งเดิมเป็นเพียงสาขาวิชาช่างยนต์สังกัดคณะวิชาการฝึกหัดครูเทคนิคชั้นสูง วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี ตั้งขึ้นในปี การศึกษา 2508 ระหว่างปี 2509 ถึง 2513 คณะวิชาการฝึกหัดครูเทคนิคชั้นสูง ได้รับการ สนับสนุนจากองค์การสหประชาชาติ โดยโครงการ UNDP Special Fund/UNESCO Project เป็นโครงการที่สอง (THA 22/1966-1970) เพื่อผลิตครูเทคนิคชั้นสูงที่มีคุณภาพ วุฒิประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง(ปทส.) ในปี พ.ศ. 2514 วิทยาลัยเทคนิคธนบุรีได้ยกฐานะขึ้นเป็น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี คณะวิชาการฝึกหัด ครูเทคนิคชั้นสูงก็เปลี่ยนฐานะเป็น ภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม และสาขาวิชาช่างยนต์ก็ได้เปลี่ยนเป็น สาขาครุศาสตร์เครื่องกล ระหว่างปี พ.ศ. 2515 ถึง 2519 ภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้รับความช่วยเหลือจากกองทุน พิเศษแห่งสหประชาชาติเป็นโครงการที่สาม ชื่อโครงการ Teacher Training Programme, King Mongkut's Institute of Technology Thonburi (Phase3) SF. THA 72 เพื่อผลิตบัณฑิตวุฒิครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ.) และสาขาวิชาครุศาสตร์ เครื่องกลได้ยกฐานะขึ้นเป็น ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกลตั้งแต่ปี พ.ศ.2526
วัตถุประสงค์ :
การพัฒนาประเทศโดยเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรม ส่งผลให้สถานภาพทางการศึกษาวิชาช่างเครื่องกล ในประเทศไทยได้มีการขยาย ตัวอย่าง มากในทุกสาขาและทุกระดับ แต่จำนวน ครูที่สอนวิชาช่างเครื่องกล ยังอยู่ใน สภาพขาดแคลน ไม่ได้สัดส่วนกับจำนวนนักศึกษา ทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล จึงได้ ร่วมแก้ปัญหานี้โดยการรับนักศึกษาที่มีพื้นฐานด้านอาชีวศึกษาระดับ ปวส. มาเพิ่มพูนความรู้ด้านวิศวกรรม ในระดับ ปริญญาตรีวิศวกรรมเครื่องกลควบคู่กันไปกับวิชาด้านครุศาสตร์ และรับนักศึกษาที่มีพื้นฐานการศึกษาระดับ ปริญญาตรี วุฒิการศึกษา ครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ.) วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศ.บ.) หรือ เทียบเท่าสาขาวิศวกรรมเครื่องกล และวิศวกรรมอุตสาหการ มาเพิ่มพูน ความรู้ด้านวิศวกรรม ควบคู่กันไป กับวิชาการด้านครุศาสตร์ในระดับปริญญาโท เพื่อผลดังนี้
1. เพื่อผลิตครูช่าง/นักครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกลในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ที่มีความรู้ความสามารถในทางทฤษฎีและปฏิบัติ ทั้งในด้านอาชีพวิศวกรรมเครื่องกลและทางครุศาสตร์ ตามความต้องการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. ทำการวิจัยการเรียนการสอน วิชาช่างเครื่องกลในระดับต่างๆเพื่อเผยแพร่การให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอนให้แก่สังคม
3. พัฒนานักครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกลประจำการให้มีความรู้ก้าวหน้าทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี
ปรัชญาภาควิชา :
เป็นหน่วยงานที่ผลิต บัณฑิต มหาบัณฑิต ให้มีองค์ความรู้ ทักษะทัศนคติและจิตสำนึก ของความ เป็นครูช่าง/นักครุศาสตร์อุตสาหกรรม ด้วยการผสมผสานศาสตร์ของวิชาชีพ การสอนควบคู่ไปกับศาสตร์ทาง วิชาชีพวิศวกรรม ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถปฏิบัติการสอนวิชาชีพและฝึกอบรมทางวิศวกรรม โดยสามารถ ใช้สอนได้อย่างเหมาะสมผลิตและเลือกสื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดจนดำเนินการวัดและประเมินผลการสอน ได้อย่างเป็นระบบ
ปณิธานภาควิชา :
ครุศาสตร์เครื่องกล สร้างคนสู่งาน เชี่ยวชาญการสอน วิศวกรเป็นเยี่ยม
วิสัยทัศน์ :
ครุศาสตร์เครื่องกล มุ่งเน้นความเป็นเลิศในการผลิต นักครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทักษะ และเจตคติในงานทางวิชาชีพการสอน ฝึกอบรม วิชาชีพทางวิศวกรรม
Copyright © 2018 Mechanical Technology Education , KMUTT,
All rights Reserved. Design by Saksit
ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล ซึ่งเดิมเป็นเพียงสาขาวิชาช่างยนต์สังกัดคณะวิชาการฝึกหัดครูเทคนิคชั้นสูง วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี ตั้งขึ้นในปี การศึกษา 2508 ระหว่างปี 2509 ถึง 2513 คณะวิชาการฝึกหัดครูเทคนิคชั้นสูง ได้รับการ สนับสนุนจากองค์การสหประชาชาติ โดยโครงการ UNDP Special Fund/UNESCO Project เป็นโครงการที่สอง (THA 22/1966-1970) เพื่อผลิตครูเทคนิคชั้นสูงที่มีคุณภาพ วุฒิประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง(ปทส.) ในปี พ.ศ. 2514 วิทยาลัยเทคนิคธนบุรีได้ยกฐานะขึ้นเป็น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี คณะวิชาการฝึกหัด ครูเทคนิคชั้นสูงก็เปลี่ยนฐานะเป็น ภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม และสาขาวิชาช่างยนต์ก็ได้เปลี่ยนเป็น สาขาครุศาสตร์เครื่องกล ระหว่างปี พ.ศ. 2515 ถึง 2519 ภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้รับความช่วยเหลือจากกองทุน พิเศษแห่งสหประชาชาติเป็นโครงการที่สาม ชื่อโครงการ Teacher Training Programme, King Mongkut's Institute of Technology Thonburi (Phase3) SF. THA 72 เพื่อผลิตบัณฑิตวุฒิครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ.) และสาขาวิชาครุศาสตร์ เครื่องกลได้ยกฐานะขึ้นเป็น ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกลตั้งแต่ปี พ.ศ.2526
วัตถุประสงค์ :
การพัฒนาประเทศโดยเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรม ส่งผลให้สถานภาพทางการ ศึกษาวิชาช่างเครื่องกล ในประเทศไทยได้มีการขยาย ตัวอย่าง มากในทุกสาขาและทุกระดับ แต่จำนวน ครูที่สอนวิชาช่างเครื่องกล ยังอยู่ใน สภาพขาดแคลน ไม่ได้สัดส่วนกับจำนวน นักศึกษาทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล จึงได้ ร่วมแก้ปัญหา นี้โดยการรับนักศึกษาที่มีพื้นฐานด้านอาชีวศึกษาระดับ ปวส. มาเพิ่มพูนความรู้ด้านวิศวกรรม ในระดับ ปริญญาตรีวิศวกรรมเครื่องกลควบคู่กันไปกับวิชาด้านครุศาสตร์ และรับนักศึกษา ที่มีพื้นฐานการศึกษาระดับ ปริญญาตรี วุฒิการศึกษา ครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ.) วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศ.บ.) หรือ เทียบเท่าสาขาวิศวกรรมเครื่องกล และวิศวกรรมอุตสาหการ มาเพิ่มพูน ความรู้ด้านวิศวกรรม ควบคู่กันไป กับวิชาการด้านครุศาสตร์ในระดับปริญญาโท เพื่อผลดังนี้
1. เพื่อผลิตครูช่าง/นักครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ที่มีความรู้ความสามารถในทางทฤษฎีและปฏิบัติ ทั้งในด้านอาชีพวิศวกรรมเครื่องกลและทางครุศาสตร์ ตามความต้องการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. ทำการวิจัยการเรียนการสอน วิชาช่างเครื่องกลในระดับต่างๆเพื่อเผยแพร่การ ให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอนให้แก่สังคม
3. พัฒนานักครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกลประจำการให้มีความรู้ ก้าวหน้าทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี
ปรัชญาภาควิชา :
เป็นหน่วยงานที่ผลิต บัณฑิต มหาบัณฑิต ให้มีองค์ความรู้ ทักษะทัศนคติและจิตสำนึก ของความ เป็นครูช่าง/นักครุศาสตร์อุตสาหกรรม ด้วยการผสมผสานศาสตร์ของวิชาชีพ การสอนควบคู่ไปกับศาสตร์ทาง วิชาชีพวิศวกรรม ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถปฏิบัติการสอนวิชาชีพและฝึกอบรมทางวิศวกรรม โดยสามารถ ใช้สอนได้อย่างเหมาะสมผลิตและเลือกสื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดจนดำเนินการวัดและประเมินผลการสอน ได้อย่างเป็นระบบ
ปณิธานภาควิชา :
ครุศาสตร์เครื่องกล สร้างคนสู่งาน เชี่ยวชาญการสอน วิศวกรเป็นเยี่ยม
วิสัยทัศน์ :
ครุศาสตร์เครื่องกล มุ่งเน้นความเป็นเลิศในการผลิต นักครุศาสตร์ อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทักษะ และเจตคติในงานทางวิชาชีพ การสอน ฝึกอบรม วิชาชีพทางวิศวกรรม